การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิต อ่านเพิ่มเติม
วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2563
3.4 การดำเนินงาน
การเตรียมการ
ในการดำเนินงานตามกิจกรรมแต่กิจกรรมที่ได้วางแผนไว้ ต้องเตรียมทรัพยากรหรือข้อมูลให้พร้อม ตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนการวางแผน ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมทรัพยากรบุคคล คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สำหรับทดสอบ รวมทั้งดำเนินกิจกรรมก่อนหน้าให้แล้วเสร็จ
3.3 การวางแผนออกแบบโครงงาน
ศึกษาเอกสารเพิ่มเติมและศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น
ขั้นตอนนี้เป็นการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร โดยเริ่มจากกาคค้นเอกสารที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมและศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น ซึ่งอาจเป็นการสร้างต้นแบบที่ใช้งานได้จริงหรือแบบจำลอง เพื่อทดสอบแนวทางและขอบเขตที่กำหนดไว้ว่ามีความเป็นไปได้ในการพัฒนาและตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานหรือไม่ หลังจากนั้น จึงวางแผนในขั้นต่อไป อ่านเพิ่มเติม
3.2 การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา
การศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ต้องสามารถระบุให้ได้ว่า ปัญหาที่จะแก้มีความสำคัญอย่างไร มีความรุนรงแค่ไหน แล้วจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร และได้ประโยชน์อะไร อ่านเพิ่มเติม
3.1. การกำหนดปัญหา
การจัดเรียงข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ครูตรวจข้อสอบของนักเรียน และบันทึกข้อมูลลงสมุดบันทึกคะแนนนักเรียน อ่านเพิ่มเติม
2.5 การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล
การจัดเรียงข้อมูล
การจัดเรียงข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก และต้องการเรียงแบบสำรวจตามเงื่อนไขที่ต้องการ การเรียงลำดับข้อมูลด้วยเงื่อนไขที่เหมาะสมจะทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 การทำซ้ำ
การทำซ้ำในรายการ
การทำซ้ำในรายการจะต้องพิจารณาข้อมูลในรายการจนครบทุกตัว ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนขั้นตอนวิธีเพื่อพิจารณาข้อมูลจนครบทุกตัว ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
2.3 การออกแบบขั้นตอนวิธี
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ เช่น การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบ และการคิดเชิงนามธรรม สามารถนำมาใช้ในการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ การออกแบบนี้ไม่มีขั้นตอนที่ตายตัว จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ และการฝึกฝน จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายซึ่งจะเป็นประโยชน์ในอนาคต อ่านเพิ่มเติม
2.2 การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั้น ก่อนที่จะระบุขั้นตอนวิธีที่ชัดเจนได้ จะต้องวิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่สามารถใช้ในการประมวลผลได้ มีเงื่อนไขต่างๆอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร โดยจะแบ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานออกเป็น 2 ส่วน คือ
Ø ข้อมูลเข้า (input) เป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อประมวลผล
Ø ข้อมูลออก (output) เป็นข้อมูลผลลัพธ์ที่ต้องการ
2.1 การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. การนิยามปัญหา (Problem Definition)
ในขั้นแรกของการแก้ปัญหา สิ่งสำคัญที่สุด คือเราต้องทำความเข้าใจให้ได้ว่าปัญหาคืออะไร ประเด็นหลักอยู่ที่ใด และต้องการให้ได้ผลลัพธ์อะไร อ่านเพิ่มเติม